เป็นการวางแผนภาษีของบุคคลธรรมดา ไม่ว่าจะมีอาชีพกินเงินเดือน เจ้าของกิจการหรือมีอาชีพอิสระ โดยบุคคลที่มีรายได้ มีหน้าที่ต้องเสียภาษีตามที่กฎหมายกำหนด ดังนั้นการรู้จักวางแผนที่เหมาะสมจะช่วยแบ่งเบาภาระให้กับเราได้ สามารถลดภาษีโดยถูกกฎหมายอย่างมั่นใจ
ทำไมต้องมีการวางแผนภาษี
ตัวอย่าง
นาย A อายุ 35 ปี ไม่มีครอบครัว ไม่มีภาระรับผิดชอบใดๆ ประกอบแพทย์เฉพาะทาง ในโรงพยาบาลชั้นนำแห่งหนึ่ง ปัจจุบันมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 60,000 บาท นอกเหนือจากเงินเดือน คุณหมอ ยังเปืดคลินิค รายรับที่ได้จากคลินิคปีละ 1,000,00 บาท และเขียนหนังสือ รายได้ 500,000 บาท มีการบริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษาทุกปีๆละ 100,000 บาท
มีสินทรัพย์เพื่อการลงทุน 4 รายการ
คิดเงินได้พึ่งประเมินดังนี้
เงินได้พึ่งประเมิน = 720,000 + 1,000,000 + 500,000
= 2,220,000 บาท
แผนบริหารภาษี
รายการลดหย่อนภาษี 2564
ส่วนตัว และครอบครัว
กลุ่มประกัน เงินออม และการลงทุน
*รวมกับเบี้ยประกันชีวิต ไม่เกิน 100,000 บาท **รวมทั้งหมวดแล้ว ไม่เกิน 500,000 บาท
อื่นๆ
เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา การกีฬา เงินบริจาคเพื่อประโยชน์สาธารณะ และเพื่อสถานพยาบาลของรัฐ
ก่อนบริหารภาษี
ดังนั้น เงินได้สุทธิ = เงินได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
= 2,220,000 - 100,000 - 60,000 - 293,000 - 171,700
= 1,595,300 บาท
หลังบริหารภาษี
= 2,220,000 - 100,000 - 60,000 - 600,000 - 146,000
= 1,314,000 บาท
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2564
บริหารภาษีไปได้ 70,325 บาท
นัดหมายที่ปรึกษา